วันเสาร์ที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2558

บทนำ

การวิจักษ์วรรณคดี
แนวคิด ที่มาและความสำคัญ
     ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ประจำชาติ  เป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพ และเสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็นไทย   เป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารเพื่อสร้างความเข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน  ทำให้สามารถประกอบกิจธุระการงานและดำรงชีวิตร่วมกันในสังคมประชาธิปไตยได้อย่างสันติสุข อ่านเพิ่ม


หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑

คำนมัสการคุณานุคุณ
  คำนมัสการคุณานุคุณ เป็นผลงานการประพันธ์ของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อยอาจารยางกูร) มีเนื้อหาว่าด้วยการน้อมรำลึกและสำนึกในคุณงามความดีของพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ บิดามารดา และครูอาจารย์ โดยมีความมุ่งหมายให้ผู้อ่าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเยาวชนไทยอ่านเพิ่ม

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒

อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง
อิเหนา เป็นวรรณคดีที่ได้รับการยกย่องของบทละครลำ เพราะเป็นหนังสือซึ่งแต่งดีทั้งกลอน ทั้งความ และทั้งกระบวนการที่ตะเล่นละครประกอบการ และยังเป็นหนังสือที่ดี ในทางที่ตะศึกษาประเพณีไทยสมัยโบราณ  แม้บทละครเรื่องอิเหนาจะมีเค้าโครงมาจากนิทานพื้นเมืองของชาวชวา อ่านเพิ่



หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓

นิทานเวตาล เรื่องที่ 10

ความเป็นมา
                นิทานเวตาล ฉบับนิพนธ์ พระราชวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ มีที่มาจากวรรณกรรมสันสกฤตของอินเดีย  โดยมีชื่อเดิมว่า เวตาลปัญจวิงศติ” ศิวทาสได้แต่งไว้ในสมัยโบราณ
                  ต่อมาได้มีผู้นำนิทานเวตาลทั้งฉบับภาษาสันสกฤตและภาษาฮินดีมาแปลเป็นภาษาอังกฤษอ่านเพิ่ม


หน่วยการกรียนรู้ที่ ๔

นิราศนรินทร์คำโคลง
ความเป็นมา
      นิราศ เป็นงานประพันธ์ประเภทหนึ่งของไทยที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ เท่าที่ปรากฏหลักฐานในปัจจุบัน นิราศเรื่องแรกของไทยนั้นคือ โคลงนิราศหริภุญชัย ซึ่งแต่งในสมัยกรุงศรีอยุธยาอ่านเพิ่

วันศุกร์ที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2558

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕

หัวใจชายหนุ่ม
  ผู้แต่ง พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

เกี่ยวกับผู้ทรงพระราชนิพนธ์

-         เป็นบทพระราชนิพนธ์ของรัชกาลที่ ๖ ทรงใช้นามปากกาว่า รามจิตติ

-         ทรงเป็นโอรสของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระนามเดิม คือ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้ามหาวชิราวุธอ่านเพิ่ม



หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖

ทุกข์ของชาวนาในบทกวี
ความเป็นมา
             บทความเรื่อง ทุกข์ของชาวนาในบทกวี มีที่มาจากหนังสือรวบรวมบทพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เรื่อง มณีพลอยร้อยแสง ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดฯให้จัดพิมพ์ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2533 ในวโรกาสที่พระองค์ทรงเจริญพระชนมายุครบ 3 รอบ โดย นิสิตคณะอักษรอ่านเพิ่ม



หน่วยการเรียนรู้ที่ ๗

มงคลสูตรคำฉันท์

                                                 " อเสวนา จ พาลานํ       ปณฺฑิตานญฺจ เสวนา
                                                  ปูชา จ ปูชนียานํ          
เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ"
                                                   หนึ่งคือบ่คบพาล           เพราะจะพาประพฤติผิด
                                                 หนึ่งคบกะบัณฑิต          เพราะจะพาประสบผล                                               
                                                 หนึ่งกราบและบูชา         อภิบูชนีย์ชน
                                                 ข้อนี้แหละมงคล            อดิเรกอุดมดี  อ่านเพิ่ม



หน่วยการเรียนรู้ที่ ๘

มหาชาติหรือมหาเวสสันดรชาดก

       คัมภีร์ธัมมบทขุททกนิกายกล่าวว่า  เรื่องเวสสันดรชาดกเป็นพุทธดำรัสที่สมเด็จพระบรมศาสดาตรัสแก่ภิกษุสงฆ์ขีณาสพสองหมื่นรูป  และพระประยูรญาติที่นิโครธารามหาวิหารในนครกบิลพัสดุ์  ในคราวเสด็จโปรดพระเจ้าสุทโธทนะพุทธบิดา  และพระวงศ์ศากยะบรรดาพระประยูรญาติไม่ปรารถนาจะทำความเคารพพระองค์  ด้วยเห็นว่าอายุน้อยกว่า อ่านเพิ่ม




บทเสริม

บทอาขยาน

นมัสการมาตาปิตุคุณ

พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูล)
ข้าขอนพชนกคุณ        ชนนีเป็นเค้ามูล
ผู้กอบนุกูลพูน        ผดุงจวบเจริญวัย
ฟูมฟักทนุถนอม        บ บำราศนิราไกล
แสนอยากเท่าไรๆ        บ คิดอยากรำบากกาย
ตรากทนระคนทุกข์        ถนอมเลี้ยง ฤ รู้วาย
ปกป้องซึ่งอันตราย        จนได้รอดเป็นกายา
อ่านเพิ่ม